ตารางอบรมฯ แยกตามศูนย์ฯ
การเลือกตามศูนย์ ตารางอบรมวิปัสสนา DKL ศูนย์ธรรมกมลา (ปราจีนบุรี) https://thailanddhamma.org/web/index.php?centerselect=DKL
As taught by S.N. Goenka in the tradition of Sayagyi U Ba Khin
การเลือกตามศูนย์ ตารางอบรมวิปัสสนา DKL ศูนย์ธรรมกมลา (ปราจีนบุรี) https://thailanddhamma.org/web/index.php?centerselect=DKL
การเลือกตามหลักสูตรการอบรม หลักสูตร 10 วัน https://thailanddhamma.org/web/index.php?course_type=10
ท่านอาจารย์โกเอ็นก้า (ค.ศ.1924-2013) อ้างอิง : อาจาริยบูชา หน้า 62-72 ท่านสัตยา นารายัน โกเอ็นก้า (Satya Narayan Goenka) เป็นวิปัสสนาจารย์ฆราวาสผู้เผยแผ่การปฏิบัติวิปัสสนาให้เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ศิษย์ชาวไทยมักเรียกท่านอย่างคุ้นเคยด้วยชื่อสกุลว่า “ท่านอาจารย์โกเอ็นก้า”
ท่านซายาจี อูบาขิ่น (คศ.1899 – 1971) โดยสำนักวิจัยวิปัสสนา อ้างอิง : อาจาริยบูชา หน้า 30-61 ท่านอาจารย์อูบาขิ่น หรือที่ชาวเมียนมาร์เรียกด้วยความเคารพว่า “ซายาจีอูบาขิ่น หรือซายาจี” เกิดวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2442 ณ กรุงย่างกุ้ง เมืองหลวงของประเทศเมียนมาร์
ท่านซายาเท็ตจี (ค.ศ.1873- 1945) โดยสถาบันวิจัยวิปัสสนา อ้างอิง : อาจาริยบูชา หน้า 20-28 ท่านอาจารย์เท็ต หรือท่านซายาเท็ตจี เกิดวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2416 ในครอบครัวชาวนา ณ หมู่บ้านเปียวบ่วยจี ห่างจากกรุงย่างกุ้งไปทางใต้ 8 ไมล์ มีชื่อเดิมว่าหม่องโพเท็ต หรืออูเท็ต บิดาของท่านเสียชีวิตตั้งแต่ท่านอายุได้ 10 ปี มารดาจึงต้องเลี้ยงดูลูกทั้งสี่ตามลำพังด้วยการขายผักชุบแป้งทอดในหมู่บ้าน
บูรพาจารย์ผู้สืบสายการปฏิบัติตามแนวทางนี้ อ้างอิง: หนังสืออาจาริยบูชา โดย สุทธี ชโยดม และคณะ การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวทางนี้ เป็นวิธีการขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งหลังจากที่ทรงบรรลุพระโพธิญาณแล้ว ได้ทรงอุทิศเวลาตลอด 45 พรรษา
ท่านอาจารย์อิไลฉี เทวี โกเอ็นก้า (มาตาจี) บทสัมภาษณ์มาตาจี (ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๔) นางอิไลฉี เทวี โกเอ็นก้า หรือที่รู้จักกันในครอบครัวและบรรดาศิษย์ว่า มาตาจี (คุณแม่ที่เคารพ, เป็นคำเรียกขานสตรีสูงวัยชาวอินเดียด้วยความเคารพ) เกิดเมื่อเดือนมกราคม ปีพ.ศ.๒๔๗๓ ที่เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
“ธรรมตโปทา” แปลว่า ความเพียรแห่งธรรม (Dhamma Practice of Devotion) ศูนย์ฯธรรมตโปทา ตั้งอยู่ที่บ้านท่าช้างใต้ บนพื้นที่ราบสูงที่มีภูเขาด้านหลัง 3 ด้าน และมีทิวทัศน์ด้านหน้าเป็นเทือกเขาใหญ่
ศูนย์วิปัสสนาธรรมสีมันตะ ศูนย์วิปัสสนาธรรมสีมันตะ มีความหมายว่า “เขตแดนแห่งธรรม” (Dhamma on Border) เป็นศูนย์วิปัสสนาแห่งที่ 6 ของประเทศไทย เปิดให้การอบรมหลักสูตร 10 วันครั้งแรก เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม–3 มกราคม พ.ศ. 2553
ศูนย์ฯ ธรรมสุวรรณา Dhamma Suvaṇṇa มีความหมายว่า “แสงทองแห่งธรรม” (Gold of Dhamma) เป็นศูนย์วิปัสสนาฯ แห่งที่ 3 ของประเทศไทย เปิดให้การอบรมหลักสูตร 10 วันครั้งแรก ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2548